ENDUPAK : พลาสติก LDPE สามารถเป่าความร้อนให้หดได้หรือไม่?

ถุงมุ้งพลาสติก LDPE

มีคุณสมบัติ ป้องกันฝุ่นละออง และป้องกันน้ำ ผลิตจากพลาสติกพีอี (LDPE) อย่างดี ถุงจึงมีความเหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย และทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถใช้หมุนเวียนได้ลักษณะก้นถุงเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ผลิตตามขนาดที่ต้องการได้ การใช้งานสะดวก และสามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้

Continue reading ENDUPAK : พลาสติก LDPE สามารถเป่าความร้อนให้หดได้หรือไม่?

ENDUPAK : ถุงรองก้นพาเลท PET Preform

ENDUPAK : ถุงมุ้ง LDPE แบบสูญญากาศ

เราสามารถใช้ถุง LDPE เพื่อทำเป็นถุงสุญญากาศได้หรือไม่?

ถุงมุ้งพลาสติก LDPE

มีคุณสมบัติ ป้องกันฝุ่นละออง และป้องกันน้ำ ผลิตจากพลาสติกพีอี (LDPE) อย่างดี
ถุงจึงมีความเหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย และทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถใช้หมุนเวียนได้ลักษณะก้นถุงเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ผลิตตามขนาดที่ต้องการได้ การใช้งานสะดวก

Continue reading ENDUPAK : ถุงมุ้ง LDPE แบบสูญญากาศ

ENDUPAK : ถุงก้นกลมถัง 200ลิตร

ถุงก้นกลมรองก้นถัง200ลิตร

ถุงพลาสติกเป็นประเภทของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้เพื่อออกแบบและป้องกันผลิตภัณฑ์ในการขนส่ง การห่อหุ้ม มีคุณสมบัติ ป้องกันฝุ่นละออง และป้องกันน้ำ ผลิตจากพลาสติกแอลดีพีอี (LDPE) อย่างดี ถุงจึงมีความเหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย และทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถใช้หมุนเวียนได้ ผลิตตามขนาดที่ต้องการได้ การใช้งานสะดวก

Continue reading ENDUPAK : ถุงก้นกลมถัง 200ลิตร

ENDUPAK : คุณสมบัติของพลาสติก LDPE

คุณสมบัติของถุงมุ้งพลาสติก LDPE

มีคุณสมบัติ ป้องกันฝุ่นละออง และป้องกันน้ำ ผลิตจากพลาสติกพีอี (LDPE) อย่างดี ถุงจึงมีความเหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย และทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถใช้หมุนเวียนได้ลักษณะก้นถุงเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ผลิตตามขนาดที่ต้องการได้ การใช้งานสะดวก สามารถเปิดใช้ได้ทุกเวลา และเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้หมุนเวียนได้หลายครั้ง ป้องกันฝุ่นภายในโรงงาน ใส่ชิ้นงานขนาดใหญ่ได้ทั้งพาเลท ประหยัดเวลาในการทำงานเป็นแบบบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานมากที่สุด

Continue reading ENDUPAK : คุณสมบัติของพลาสติก LDPE

ENDUPAK : Carbon Neutrality และ Net Zero Emissions แตกต่างกันอย่างไร ? 

Carbon Neutrality และ Net Zero Emissions แตกต่างกันอย่างไร ?

ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)
คือ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศเท่ากับปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ถูกดูดกลับคืนมา โดยผ่าน 3 กลไก ได้แก่
(1) “ลด” การปล่อยก๊าซเรือนกระจก เช่น การใช้พลังงานหมุนเวียนแทนการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel)
(2) “ดูดกลับ” ก๊าซเรือนกระจกจากชั้นบรรยากาศ เช่น การปลูกป่าเพื่อเพิ่มแหล่งสะสมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตามธรรมชาติ (Carbon Sink) การใช้เทคโนโลยีในการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และนำกลับมากักเก็บใต้พื้นดิน หรือใช้ในอุตสาหกรรมอื่น ๆ
(3) “ชดเชย” การปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วยการซื้อคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit Offset)

Continue reading ENDUPAK : Carbon Neutrality และ Net Zero Emissions แตกต่างกันอย่างไร ? 

ENDUPAK : Global Treaty On Plastics

“สนธิสัญญาเขย่าโลกที่จะเปลี่ยนโฉมอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในอนาคต”

สนธิสัญญานี้เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่นำเสนอเพื่อแก้ไขวิกฤติมลพิษจากพลาสติกทั่วโลก โดยมีเป้าหมายเพื่อลดมลพิษพลาสติกให้เป็นศูนย์ภายในปี 2040 ทั้งนี้สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศฉบับแรกที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แม้สัญญานี้จะยังไม่เสร็จสมบูรณ์ แต่มีการเริ่มร่างแผนงานเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายแล้ว โดยแผนการกำจัดขยะพลาสติกขององค์การสหประชาชาติ ที่เรียกว่า System change scenario
กำหนดเป้าหมายในการลดการปล่อยขยะพลาสติกสู่สิ่งแวดล้อมลง 80% ภายในปี 2040 ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 4 ประการ ได้แก่

Continue reading ENDUPAK : Global Treaty On Plastics

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save